เพียง

จาก วิกิพจนานุกรม พจนานุกรมเสรี
ดูเพิ่ม: เพี้ยง

ภาษาไทย[แก้ไข]

รูปแบบอื่น[แก้ไข]

รากศัพท์[แก้ไข]

ยืมมาจากภาษาจีนยุคกลาง (MC bjaeng); ร่วมเชื้อสายกับภาษาลาว ພຽງ (พย̂ง), ภาษาคำเมือง ᨻ᩠ᨿᨦ (พยง), ภาษาเขิน ᨻ᩠ᨿᨦ (พยง), ภาษาไทลื้อ ᦵᦗᧂ (เพง), ภาษาไทดำ ꪝꪸꪉ (ป̱ย̂ง), ภาษาไทใหญ่ ပဵင်း (เป๊ง)

การออกเสียง[แก้ไข]

การแบ่งพยางค์เพียง
การแผลงเป็น
อักษรโรมัน
ไพบูลย์พับบลิชชิงpiiang
ราชบัณฑิตยสภาphiang
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย)/pʰia̯ŋ˧/(สัมผัส)

คำกริยาวิเศษณ์[แก้ไข]

เพียง

  1. เท่า
    เพียงใด
    เพียงนี้
    เพียงนั้น
  2. แค่, เสมอ
    ศาลเพียงตา
    สูงเพียงหู
  3. เหมือน
    งามเพียงจันทร์
    รักเพียงดวงตาดวงใจ
  4. พอ, ในคำโคลงใช้ เพี้ยง ก็มี

คำแปลภาษาอื่น[แก้ไข]

ภาษาทะวืง[แก้ไข]

รากศัพท์[แก้ไข]

เทียบภาษาลาว ເຟືອງ (เฟือง)

คำนาม[แก้ไข]

เพียง

  1. ฟาง (ข้าว)