ยกบัตร

From Wiktionary, the free dictionary
Jump to navigation Jump to search

Thai[edit]

Alternative forms[edit]

Alternative forms

Etymology[edit]

Possibly from Pali āyuttaka (representative; steward; trustee) + paṭa (cloth; scroll, roll, list, record; etc), or Sanskrit आयुक्त (āyukta, agent, deputy; minister; royally appointed officer; etc) + प्राप्त (prāpta, chartered; received; valid; etc).[1]

Pronunciation[edit]

Orthographicยกบัตร
y k ɓ ạ t r
Phonemic
ยก-กะ-บัด
y k – k a – ɓ ạ ɗ
RomanizationPaiboonyók-gà-bàt
Royal Instituteyok-ka-bat
(standard) IPA(key)/jok̚˦˥.ka˨˩.bat̚˨˩/(R)

Noun[edit]

ยกบัตร (yók-gà-bàt)

  1. (historical) public officer in กระทรวงวัง (grà-suuang-wang, Ministry of Palace Affairs), sent out by the central government to a locality to oversee the performance of the local ruler, especially in administrative and judicial affairs.[2]
  2. (historical) public officer responsible for recording or inspecting military affairs; public officer responsible for providing military supplies.
  3. (archaic) prosecuting attorney.

Synonyms[edit]

prosecuting attorney

Descendants[edit]

References[edit]

  1. ^ ราชบัณฑิตยสถาน (2010) กฎหมายตราสามดวง: พระทำนูน ฉบับราชบัณฑิตยสถาน (in Thai), Bangkok: ราชบัณฑิตยสถาน, →ISBN, page 92:ผศ. ดร.จิรพัฒน์ ประพันธ์วิทยา: ยุกระบัด อาจมาจากคำว่า อายุกฺต หมายถึง ผู้ปกครองแคว้นที่กษัตริย์แต่งตั้ง รวมกับคำว่า ปฎะ หมายถึง ตราตั้ง เมื่อรวมกันจึงหมายถึง ตราแต่งตั้งเจ้าหน้าที่.
  2. ^ ราชบัณฑิตยสถาน (2010) กฎหมายตราสามดวง: พระทำนูน ฉบับราชบัณฑิตยสถาน (in Thai), Bangkok: ราชบัณฑิตยสถาน, →ISBN, pages 91–92:
    ยุกระบัด (สะกด ยุกระบัตร หรือ ยกกระบัตร หรือ ยกบัตร ก็มี) ตำแหน่งข้าราชการสังกัดกระทรวงวัง มีหน้าที่ออกไปประจำอยู่ตามหัวเมืองเพื่อสอดส่องอรรถคดี ตำแหน่งยกกระบัตรต้องแต่งตั้งจากบุคคลที่มีคุณสมบัติครบถ้วนตามที่พระไอยการอาชญาหลวงกำหนด มีการกำหนดจริยธรรมในการปฏิบัติหน้าที่ของยกกระบัตรไว้ในกฎหมายด้วย อำนาจหน้าที่สำคัญของยกกระบัตร เช่น ต้องร่วมรู้เห็นในราชการสำคัญของเจ้าเมือง สามารถไปเฝ้าพระเจ้าอยู่หัวเมื่อใดก็ได้ เจ้าเมืองไม่มีอำนาจห้ามปราม มีหน้าที่บันทึกความดี ความชอบ และ ความผิด และหน้าที่อื่น ๆ ในราชการสงคราม ตามที่กฎหมายบัญญัติ มีอำนาจหน้าที่ในการยุติธรรมหลายประการเกี่ยวกับอรรถคดี เช่น สอดส่องและเร่งรัดให้เจ้าเมืองชำระความต่าง ๆ ที่เป็นความเดือดร้อนของราษฎร หากการพิจารณาพิพากษาคดีของเจ้าเมืองหรือกรมการเมืองที่กระทำโดยมิชอบ ยกกระบัตรต้องทักท้วงห้ามปราม หากผู้ฝ่าฝืนไม่ฟัง ต้องกราบทูลพระเจ้าอยู่หัว ตรวจสอบการปรับไหมของเมืองคู่ปรับ. นายกฤษฎา บุณยสมิต: ซิมง เดอ ลาลูแบร์ (Simon de la Lubère) ราชทูตฝรั่งเศสซึ่งเดินทางมาเจริญสัมพันธไมตรีกับกรุงศรีอยุธยาในรัชสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช ได้บันทึกไว้ในจดหมายเหตุลาลูแบร์ว่า "ออกพระยกบัตร (Oc-Pra Jockebatest) เป็นทำนองอัยการแผ่นดิน และมีหน้าที่สอดแนมความเคลื่อนไหวของเจ้าเมืองเป็นที่ตั้ง ตำแหน่งนี้ไม่สืบทายาทถึงบุตร ในหลวงทรงแต่งตั้งจากบุคคลที่ทรงไว้วางพระราชหฤทัย...หากคำพิพากษานั้นมีอาการว่า ไม่เป็นไปตามยุติธรรมไซร้ ก็เป็นหน้าที่ของยกกระบัตรหรืออัยการแผ่นดินจะบอกกล่าวเตือนให้ศาลทราบไว้..." นอกจากนี้ ตามพระราชกำหนดเก่า ฉบับที่ ๒๒ ในหัวเมืองเอกไม่มีการแต่งตั้งตำแหน่งยกกระบัตร มีแต่หัวเมืองโท ตรี และจัตวาเท่านั้น.
  3. ^ ราชบัณฑิตยสถาน (2010) กฎหมายตราสามดวง: พระทำนูน ฉบับราชบัณฑิตยสถาน (in Thai), Bangkok: ราชบัณฑิตยสถาน, →ISBN, page 92:ดร.ใกล้รุ่ง อามระดิษ: พจนานุกรมเขมร ฉบับพุทธศาสนบัณฑิตย์ อธิบายว่า คำ ยุกกฺบัตร หรือ โยกบัตฺร เป็นคำที่เขมรรับไปจากไทย หมายถึง ขุนนางผู้รับผิดชอบฝ่ายบัญชีและจดหมายเหตุต่าง ๆ เทียบได้กับปลัดกระทรวง ต่อมาภายหลัง เปลี่ยนเป็นตำแหน่งเลขาธิการ.