เผือ

From Wiktionary, the free dictionary
Jump to navigation Jump to search
See also: เผื่อ

Thai

[edit]

Alternative forms

[edit]

Etymology

[edit]

From Proto-Tai *pʰɯa.

Pronunciation

[edit]
Orthographic/Phonemicเผือ
e pʰ ụ̄ ɒ
RomanizationPaiboonpʉ̌ʉa
Royal Institutephuea
(standard) IPA(key)/pʰɯa̯˩˩˦/(R)

Pronoun

[edit]

เผือ (pʉ̌ʉa)

  1. (archaic) an exclusive plural first person pronoun:[1][2][3] we.

See also

[edit]

References

[edit]
  1. ^ วงษ์เทศ, สุจิตต์, editor (1983), สุโขทัยไม่ใช่ราชธานีแห่งแรกของไทย (in Thai), Bangkok: มติชน, →ISBN, page 174:เผือ แปลว่า เรา (เป็นพหูพจน์). พิฑูร [มลิวัลย์:] คำว่า เผือ ทางอิสานมีใช้แต่ในวรรณคดี หมายความเป็นทวิพจน์ คือ เรา (สองคน) ข้า (สองคน) เช่นเดียวกับคำ เขือ ซึ่งแปลว่า ท่าน (ทั้งสอง) เธอ (ทั้งสอง).
  2. ^ ราชบัณฑิตยสถาน (2013) พจนานุกรมศัพท์วรรณคดีไทย สมัยสุโขทัย ศิลาจารึกพ่อขุนรามคำแหงมหาราช หลักที่ ๑ (in Thai), 3rd edition, Bangkok: ราชบัณฑิตยสถาน, →ISBN, page 49:เผืออ (เผือ) ส. สรรพนามบุรุษที่ ๑ ทวิพจน์ หมายถึง เราทั้งสอง ไม่รวมผู้ฟัง ในความว่า 'พี่เผือผู้อ้ายตายจากเผือเตียมแต่ยังเล็ก' (๑/๒–๓).
  3. ^ พงศ์ศรีเพียร, วินัย (2009) “เอกสารลำดับที่ ๑ จารึกพ่อขุนรามคำแหง”, in ๑๐๐ เอกสารสำคัญ: สรรพสาระประวัติศาสตร์ไทย ลำดับที่ ๑ (in Thai), Bangkok: ศักดิ์โสภาการพิมพ์, →ISBN, page 13:เผือ หมายถึง พวกกูทั้งสอง (เฉพาะผู้พูด) ในที่นี้ เมื่อพ่อขุนรามคำแหงกล่าวว่า พี่เผือผู้อ้าย หมายถึง พี่คนโตของพวกกูทั้งสอง คือ พ่อขุนบานเมืองและพระองค์ท่านเอง.